วันศุกร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2559

การบริหารแบบ BMR&D

สรุป
                                การบริหารแบบ BMR&D เป็นการสังเคราะห์ Best practice ที่ใช้คือ benchmarking รูปแบบเฉพาะของโรงเรียนบ้านนาพิน (Model) คือนาพินโมเดล (Napin model) การวิจัยและพัฒนา (Research &development) ใช้กรอบดำเนินงานคือเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาของชาติ (National Standard Education) และยุทธศาสตร์การบริหารแบบหลอมรวม (the Integrated Administration Strategy: IAS) เป็นแกน ดังนี้
                         1.            ขั้นเตรียมการและวางแผนดำเนินงาน
                                                                1.1          สร้างความรู้ความเข้าใจในกรอบความคิด
                                                                1.2          สร้างทีมคณะกรรมการ
                                             จัดกระบวนการโดย นำวิธีการเทียบเคียงกับมาตรฐาน(Benchmarking)  4 ขั้นตอนหลัก คือ วางแผน (Planning) วิเคราะห์ (Analysis)  บูรณาการ (Integration) ปฏิบัติ (Action) ใช้การบริหารจัดการความรู้ นาพินโมเดล (Napin model)” 7 ขั้นตอนในการฝึก ปฏิบัติ อันประกอบไปด้วย     ฝึกทักษะตามรูปแบบที่กำหนดในตัวแบบซึ่งเป็นต้นแบบในอุดมคติ  ประกวด แข่งขัน หาต้นแบบจริง  เทใจใส่ฝ่ามือ ถอดแบบ ถ่ายทอด นำไปใช้ ปฏิบัติประจำวัน พัฒนาและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เผยแพร่ด้วยการ จัดนิทรรศการแสดงผลงาน แก้ไข ปรับปรุง จัดระบบใหม่อีกรอบ ก่อนนำไปใช้พัฒนานักเรียนทั้งโรงเรียน นำวิธีวิจัยและพัฒนา(Research & Development) 9 ขั้นตอนดำเนินการมาใช้เพื่อตรวจสอบและทบทวนดังต่อไปนี้คือ วิเคราะห์ปัญหา  กำหนดปัญหาวิจัย  ศึกษาหลักการและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยออกแบบการวิจัย  สร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล   เก็บรวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลการวิจัย   เขียนรายงานการวิจัย    การนำผลงานวิจัยไปใช้และการเผยแพร่ แล้วนำไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ(National Standard Education) ใน 2 ขั้นตอนหลัก คือ กำหนดเป้าหมาย และยุทธศาสตร์การศึกษาให้สอดคล้องตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.. 2548-2553 เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา และเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบการจัดการศึกษาในโรงเรียนว่าเต็มตามสิทธิของนักเรียนหรือไม่ ปฏิบัติได้ครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด
                                                2.           ขั้นประสานการจัดทำแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการ

                                                                2.1          วิเคราะห์สภาพความพร้อมของปัจจัยต่างๆ


STRATEGY IN BASIC INNNOVATION

คิดสร้างโมเดล หรือ สังเคราะห์โมเดล ด้วยวิธีการคิดแบบ “ฝัดข้าวด้วยกระด้ง”

วิธีการคิดสร้างโมเดลหรือสังเคราะห์โมเดล
ด้วยวิธีการคิดแบบ “ฝัดข้าวด้วยกระด้ง”
(Kradong model synthesized Procedure)
กรอบแนวคิด(Idea framework)
“คิดวิเคราะห์กลับไปกลับมาหลายครั้ง แล้วเลือกผลการคิดที่ดีที่สุดเรียงลำดับไม่เกินห้าความคิดนำมาสังเคราะห์เป็นความคิดเดียวกัน เรียบเรียงใหม่ให้เป็นระบบคือมีทั้งตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต นำไปเทียบเคียง (benchmarking) กับเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่คิด ปรับอีกครั้งหนึ่งให้เหมาะกับการนำไปใช้ในสภาพที่เป็นจริงที่กำลังมีกำลังเป็นอยู่ในปัจจุบัน”
“Analysis thinks reverse more times to alternate think out for the best, then nominate number down 5 thinks to synthesized that one edited new in systematic etc., input process and product to benchmarking the criteria involve that thinking, adjustable that one appropriate implementation in real times to presently.”
(sungkreeb watanarat,napinmodel: 1 01 49)